วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ภาษาซีเบื้องต้น

ภาษาC++



 //

ภาษาซีพลัสพลัส
     ภาษาซีพลัสพลัส (อังกฤษ: C++) เป็นภาษาโปรแกรม

คอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ มีโครงสร้างภาษาที่มีการจัดชนิดข้อมูล

แบบสแตติก (statically typed) และสนับสนุนรูปแบบการ


เขียนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm 

languageได้แก่ การโปรแกรมเชิงกระบวนคำสั่งการนิยาม

ข้อมูลการโปรแกรมเชิงวัตถุ,และการโปรแกรมแบบเจเนริก

(generic programming) ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษา

โปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่นิยมมากภาษาหนึ่งนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 

1990เบียเนอ สเดราสดร็อบ (Bjarne Stroustrup) 

จากเบลล์แล็บส์ (Bell Labs) เป็นผู้พัฒนาภาษาซีพลัสพลัส 

(เดิมใช้ชื่อ “C with classes“) ในปี ค.ศ. 1983 เพื่อ

พัฒนาภาษาซีดั้งเดิม สิ่งที่พัฒนาขึ้นเพิ่มเติมนั้นเริ่มจากการเพิ่มเติม

การสร้างคลาสจากนั้นก็เพิ่มคุณสมบัติต่างๆ ตามมา ได้แก่ เวอร์

ชวลฟังก์ชัน การโอเวอร์โหลดโอเปอเรเตอร์ การสืบทอดหลาย

สาย เทมเพลต และการจัดการเอกเซพชัน มาตรฐานของภาษาซี

พลัสพลัสได้รับการรับรองในปี ค.ศ. 1998 เป็น

มาตรฐาน ISO/IEC 14882:1998 เวอร์ชันล่าสุดคือเวอร์ชันใน

ปี ค.ศ. 2003 ซึ่งเป็นมาตรฐาน ISO/IEC 14882:2003 ใน

ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาในเวอร์ชันใหม่(รู้จักกันในชื่อ C++0x) 

กำลังอยู่ในขั้นพัฒนา


รูปแบบของการออกแบบภาษาซีพลัสพลัส


  • ภาษาซีพลัสพลัสได้ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นภาษาสำหรับการเขียนโปรแกรมทั่วไป สามารถรองรับการเขียนโปรแกรมในระดับภาษาเครื่องได้ เช่นเดียวกับภาษาซี
  • ในทางทฤษฎี ภาษาซีพลัสพลัสควรจะมีความเร็วเทียบเท่าภาษาซี แต่ในการเขียนโปรแกรมจริงนั้น ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษาที่มีการเปิดกว้างให้โปรแกรมเมอร์เลือกรูปแบบการเขียนโปรแกรม ซึ่งทำให้มีแนวโน้มที่โปรแกรมเมอร์อาจใช้รูปแบบที่ไม่เหมาะสม ทำให้โปรแกรมที่เขียนมีประสิทธิภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น และภาษาซีพลัสพลัสนั้นเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนมากกว่าภาษาซี จึงทำให้มีโอกาสเกิดบั๊กขณะคอมไพล์มากกว่า
  • ภาษาซีพลัสพลัสได้รับการออกแบบเพื่อเข้ากันได้กับภาษาซีในเกือบทุกกรณี (ดูเพิ่มเติมที่Compatibility of C and C++)
  • มาตรฐานของภาษาซีพลัสพลัส ถูกออกแบบมาเพื่อไม่ให้มีการเจาะจงแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์
  • ภาษาซีพลัสพลัสถูกออกแบบมาให้รองรับรูปแบบการเขัยนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm)


ตัวอย่างโค้ด



#include <iostream>
using namespace std;
int main()
{
    cout << "Hello, world!\n";
    return 0;
}














ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น